วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ศรัทธา


เมื่อความหวังสูญสิ้น
จงอย่าปล่อยให้ความศรัทธามอดดับ
แรงใจที่หายไป...คงจะกลับมาในไม่ช้า
เมื่อศรัทธายังอยู่...ความหวังก็จะยังคงอยู่
ชีวิต มิได้มีแต่ความทุกข์
วันข้างหน้าที่สดใสยังคงมีเสมอ
ล้มแล้วต้องลุก
เพื่อที่จะเจอกับความสุข..ในวันต่อไป

วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การบำรุงรักษาทาง

วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อรักษาทางให้คงรูปและมีสภาพดี
1.2 เพื่อให้ผู้ใช้ทางได้รับความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
1.3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และขนส่ง
1.4 เพื่อประหยัดงบประมาณในการบำรุง
สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสียหายกับทาง
2.1 ปริมาณการจราจร
2.2 น้ำหนักของยวดยาน
2.3 สภาพดินฟ้าอากาศ
การควบคุมการก่อสร้างก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ถนนชำรุดเสียหายเร็วหรือช้า ซึ่งผู้ควบคุมงานจะต้องมีความรู้และความชำนาญในการควบคุมงานให้เป็นไปตาม มาตรฐานการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง และอื่น ยกตัวอย่างเช่น รู้จักเลือกประเภทและปริมาณของยางแอสฟัลท์ที่ใช้ในแต่ละลักษณะงานให้ถูกต้อง ตามที่กำหนดในรูปแบบและรายการ รู้จักกรรมวิธีในการบดอัด
ประเภทของการบำรุงรักษา
กรมทางหลวงชนบทได้แบ่งกิจกรรมงานบำรุงรักษาทางออกเป็นกิจกรรมต่างๆ คือ งานบำรุงปกติ งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา งานบำรุงพิเศษ และงานบำรุงฉุกเฉิน
3.1 งานบำรุงปกติ (Routine Maintenance)
หมายถึง การบำรุงรักษาทางอยู่เป็นประจำ เพื่อให้ทางอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ทำให้ผู้ใช้ถนนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยในการขับขี่และเพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามแผ่กว้างออกไป เช่น งานกวาดเกลี่ยหรือขึ้นรูปบดทับใหม่สำหรับผิวทางลูกรัง งานอุดรอยแตก (Sealing) งานฉาบผิว (Seal Coat) งานปะซ่อมผิวทาง (Skin Patch) งานขุดซ่อมผิวทาง (Deep Patch) ของผิวลาดยาง และงานอุดรอยต่อของผิวคอนกรีต เป็นต้น
3.2 งานบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา (Periodic Maintenance)
หมายถึง การบำรุงรักษาทางอยู่เป็นประจำ เพื่อให้ทางอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ทำให้ผู้ใช้ถนนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยในการขับขี่และเพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามแผ่กว้างออกไป เช่น งานกวาดเกลี่ยหรือขึ้นรูปบดทับใหม่สำหรับผิวทางลูกรัง งานอุดรอยแตก (Sealing) งานฉาบผิว (Seal Coat) งานปะซ่อมผิวทาง (Skin Patch) งานขุดซ่อมผิวทาง (Deep Patch) ของผิวลาดยาง และงานอุดรอยต่อของผิวคอนกรีต เป็นต้น
3.3 งานบำรุงพิเศษ (Special Maintenance)
หมายถึง การบำรุงรักษาทางอยู่เป็นประจำ เพื่อให้ทางอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ทำให้ผู้ใช้ถนนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยในการขับขี่และเพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามแผ่กว้างออกไป เช่น งานกวาดเกลี่ยหรือขึ้นรูปบดทับใหม่สำหรับผิวทางลูกรัง งานอุดรอยแตก (Sealing) งานฉาบผิว (Seal Coat) งานปะซ่อมผิวทาง (Skin Patch) งานขุดซ่อมผิวทาง (Deep Patch) ของผิวลาดยาง และงานอุดรอยต่อของผิวคอนกรีต เป็นต้น
3.4 งานซ่อมฉุกเฉิน (Emergency Maintenance)
หมายถึง การบำรุงรักษาทางอยู่เป็นประจำ เพื่อให้ทางอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ทำให้ผู้ใช้ถนนได้รับความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยในการขับขี่และเพื่อป้องกันมิให้ความเสียหายลุกลามแผ่กว้างออกไป เช่น งานกวาดเกลี่ยหรือขึ้นรูปบดทับใหม่สำหรับผิวทางลูกรัง งานอุดรอยแตก (Sealing) งานฉาบผิว (Seal Coat) งานปะซ่อมผิวทาง (Skin Patch) งานขุดซ่อมผิวทาง (Deep Patch) ของผิวลาดยาง และงานอุดรอยต่อของผิวคอนกรีต เป็นต้น
อ้างอิงจาก http://trafficsafety.drr.go.th/knowledge_maintenance_road.php